ซีพี ออลล์ เจ้าของร้านสะดวกซื้อชื่อดังคู่ประเทศไทยอย่าง เว็บตรงฝากถอนไม่มีขั้นต่ำ เซเว่นอีเลฟเว่น มอบเงิน 77 ล้านบาทให้แก่ 77 โรงพยาบาลทั่วประเทศสู้โควิด-19 ประเดิมนำร่องที่ รพ.ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) หรือที่รู้จักกันดีในฐานะ เซเว่นอีเลฟเว่น ประเทศไทย นำเงินจากโครงการ “รวมพลังคนไทย เลิกใช้ถุงพลาสติก” เปิดโครงการ “คนไทยไม่ทิ้งกัน” บริจาคอุปกรณ์ทางการแพทย์มูลค่า 77 ล้านบาทให้แก่ 77 โรงพยาบาลทั่วประเทศ โดยนำร่องมอบชุดป้องกันความปลอดภัย PPE จำนวน 10,000 ชุดให้กับ 5 โรงพยาบาล ประเดิมที่ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์ฯ 2,000 ชุด
นายสุวิทย์ กิ่งแก้ว ที่ปรึกษาอาวุโสคณะเจ้าหน้าที่บริหารของบริษัท
เผยว่า “จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโควิด-19 ทำให้คณะแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานผู้ที่ต้องดูแลคนไข้ มีความเสี่ยงที่จะติดเชื้ออยู่ตลอดเวลา”
“จึงได้จัดโครงการ “คนไทยไม่ทิ้งกัน” มอบเงินจำนวน 77 ล้านบาท เป็นเงินจากโครงการลดการใช้ถุงพลาสติกที่ร้านเซเว่นอีเลฟเว่น ให้แก่ 77 โรงพยาบาลทั่วประเทศ เพื่อซื้ออุปกรณ์ทางการแพทย์ที่จำเป็น สู้ภัยโควิด-19
สถานการณ์โควิด-19 6 เมษายน ติดเชื้อ 1.2 ล้าน ตายเฉียด 7 หมื่น สถานการณ์ไวรัสโควิด 6 เมษายน 63– รายงานสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ 2019 องค์การอนามัยโลกหรือ WHO ได้ตั้งชื่ออย่างเป็นทางการของไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ 2019 ว่า โควิด-19 (Covid-19) โดยมาจาก 3 คำ คือ โคโรนา (corona) “ไวรัส” (virus) และ “ดีซีส” (disease) 19 เป็นปีที่มีรายงานการแพร่ระบาด โดยให้เหตุผลการตั้งชื่อทางการว่า เพื่อป้องกันการใช้ชื่ออื่นที่ไม่ถูกต้อง และเป็สถานการณ์โควิด-19 31 มีนาคมระส่ำ วันเดียวติดเชื้อ 6.2 หมื่น ตายสะสม 37,639นมาตรฐานให้กับการใช้ชื่อเรียกการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่าในอนาคตด้วย
กลายเป็นกระแสวิจารณ์อย่างร้อนแรงอยู่ในโลกออนไลน์ในขณะนี้ สำหรับกรณี รัฐบาลเปิดมาตรการเยียวยาลูกจ้างชั่วคราว อาชีพอิสระ นอกระบบประกันสังคม ที่ได้รับผลกระทบจากเชื้อไวรัสโควิด-19 (COVID-19) ผ่าน www.เราไม่ทิ้งกัน.com จะได้รับเงินสนับสนุนรายละ 5,000 บาทต่อเดือน ตามที่ได้นำเสนอไปแล้วนั้น
ล่าสุด ในโลกออนไลน์ต่างเกิดกระแสแชร์วิจารณ์ ภายหลังจากที่ได้มีการโอนเงินเยียวยาให้ผู้ที่ลงทะเบียนวันแรก กลับพบว่าในโลกออนไลน์ มีหญิงสาวรายหนึ่งได้โพสต์ข้อความ ภายหลังจากที่ได้รับเงิน 5 พันบาทว่า “5 พันเข้าบัญชีแล้วค่ะ ก็แค่เศษเงินหลังตู้เย็นเหอะ!”
สธ.ให้ทุกจังหวัดเปิด ‘1 จังหวัด-1 แลป-100 ห้องปฏิบัติการ’ ตรวจหาโควิด-19
กระทรวงสาธารณสุขเปิดปฏิบัติการเชิงรุก “1 จังหวัด-1 แลป-100 ห้องปฏิบัติการ” ตรวจหาเชื้อไวรัสโควิด-19 ให้ครอบคลุมทั้งประเทศ ตั้งเป้าตรวจหาเชื้อให้ได้วันละ 20,000 ราย เมษายนนี้เตรียมรับรองมาตรฐานเพิ่มเป็น 110 แห่ง
วานนี้ ข่าวทำเนียบรัฐบาล รายงาน นายแพทย์โอภาส การย์กวินพงศ์ อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เปิดเผยว่า รัฐบาลและกระทรวงสาธารณสุข โดยนายอนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข มีนโยบายเชิงรุกในการจัดการการแก้ไขปัญหาการระบาดของไวรัสโควิด-19 ได้กำหนดยุทธศาสตร์“1 จังหวัด-1 แลป-100 ห้องปฏิบัติการ” เพื่อเร่งตรวจคัดกรองผู้ป่วยโควิด-19 รายใหม่ ตามแนวทางการปรับเกณฑ์เฝ้าระวังสอบสวนโรค เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ให้เร็วและมากที่สุด กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ได้เร่งทดสอบความชำนาญทางห้องปฏิบัติการ การตรวจหาเชื้อ SARS-CoV-2 เพิ่มขึ้นอีก 30 แห่งทั่วประเทศ เมื่อรวมกับห้องปฏิบัติการเดิมที่ผ่านการรับรองแล้วจำนวน 80 แห่ง ทำให้ในเดือนเมษายนนี้จะมีห้องปฏิบัติการที่สามารถตรวจหาเชื้อ SARS-CoV-2 รวม 110 แห่ง ครอบคลุมในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และ 12 เขตสุขภาพทั่วประเทศ รองรับความสามารถในการตรวจสูงสุดถึง 20,000 ตัวอย่างต่อวัน คือ ในกรุงเทพฯ 10,000 ตัวอย่าง และ ในภูมิภาค 10,000 ตัวอย่างต่อวัน (ภูมิภาค 835 ตัวอย่าง/เขตสุขภาพ)
อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ยังระบุว่า จากการประชุมคณะทำงานด้านภารกิจการจัดการห้องปฏิบัติการ โดยมีกรมควบคุมโรค สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) และเครือข่าย เมื่อวันที่ 4 เมษายนที่ผ่านมา เพื่อวางมาตรฐานสนับสนุนกระบวนการการตรวจหาเชื้อและเชื่อมข้อมูลระบบรายงานผลให้รายงานผลได้ภายใน 24 ชั่วโมง ยกระดับการทำงานให้เกิดความรวดเร็ว ทั้งขั้นตอนการออกรหัสการตรวจที่จะปรับไปในรูปแบบออนไลน์ การจับคู่ห้องปฏิบัติการกับโรงพยาบาลต้นสังกัดเพื่อให้การรับส่งเชื้อในการตรวจรวดเร็ว ตลอดจนการรายงานผลที่เชื่อมโยงกับกรมควบคุมโรคและโรงพยาบาลที่ส่งตรวจ รวมทั้งระบบ E-claim ที่ดูแลด้านการเบิกจ่ายงบของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูลและช่วยให้เห็นภาพรวมของสถานการณ์ไปพร้อมกันทำให้การวางแผนการจัดการมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
“วันนี้ยังคงยืนยันวิธีการตรวจที่องค์การอนามัยโลกแนะนำ คือ การตรวจสารพันธุกรรมของไวรัสด้วยวิธี Real-time RT PCR เนื่องจากมีความไว ความจำเพาะสูง ทราบผลภายใน 3 – 5 ชั่วโมง และสามารถตรวจจับเชื้อไวรัสปริมาณน้อย ๆ ทั้งเชื้อเป็นและเชื้อตายในรูปแบบของสารพันธุกรรม และขณะนี้มีนวัตกรรมเครื่องมือตรวจใหม่ๆที่นำมาใช้ เช่น โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาบันบำราศนราดูรของกรมควบคุมโรคได้มีเครื่องดังกล่าวไว้ใช้งานแล้ว และการที่มีห้องปฏิบัติการหนึ่งแห่ง หนึ่งจังหวัดจะยิ่งเสริมการตรวจหาเชื้อได้ดีและรวดเร็วมากยิ่งขึ้น” นายแพทย์โอภาส กล่าว สล็อตเว็บตรง , ฝากถอนไม่มีขั้นต่ำ เว็บตรง